Teleste

15 December 2017

About

Teleste was founded in 1954 with its headquarters in Finland and manufacturing base in Finland and China. It has offices in 20 countries and more than 1,500 staff with 2016 net sales of €260Million. The company offers products and solutions for access networks and video security applications as well as services for network design, construction and maintenance. Its customers include cable and telecom operators and public sector organisations. The video below shoes Teleste HQ in Littoinen, Finland.

Lean

The factory focuses on lean manufacturing process by grouping relevant activities together and minimise unnecessary movements of products along the production line [Sami Jalasjoki “MANUFACTURING PROCESS IMPROVEMENT By Using Lean Methods” Business administration thesis 2014 – PDF]. Its stock are kept using a similar system to what IKEA is using in its stores around the world.

Smart, safe, and smooth future.

Soumi 100

Finland celebrated its 100th anniversary of independence on the 6th December 2017 which coincided with our visit [Suomi100].

 

 

3rd Asia Pacific Smart Cities forum

15 December 2017

11-12 September 2017, The Intercontinental hotel Kuala Lumpur, Malaysia

Organised by Fleming

Opening remarks by Dominic Yin, president of international smart city institute Hong Kong, ministry of technology of people Republic of China

Opening remarks by Dominic Yin, president of international smart city institute Hong Kong, Ministry of Technology of People Republic of China

Keynote address: working towards smart Penang by Dato Maimunah Mohd Sharif, mayor of city council of Penang island

Newly appointed mayor, came from main land

“one team, one voice, one vision ”

Vision

UN goals: sustainable development goals URL – study *** A UN-defined set of universal goals that meet the urgent environmental, political and economic challenges facing our world.

Screen Shot 2017-09-12 at 2.29.27 PM

Transition from MDGs to SDGs

“no one left behind ” city and community should go hand in hand

Penang smart city

Leading concept : smart enough to maintain the unique beauty and preserve and improve the quality of life

“No more agendas, only actions ” , just like DEPA!

Councils – committee to oversee various services in the city

Essential city services

  1. Safety: 24/7, zero accident, zero crime , zero flood, zero landslide,
  2. Mobility: public transport, bike lane, airport connection, pedestrian friendly
  3. Waste management:
  4. E government and public services
  5. Ease of doing business
  6. Education: life long learning, STEM,
  7. Environmentally friendly

Live report of city development URL

Talk 2

The role of telecoms operators in smart city initiatives by Azni Risa Ramian, VP technology and innovation, Telekom Malaysia Berhad

Big data analytics

Design thinking

Value to stakeholders

Panel discussion: learning from the past for the better future

Tengku Mohd Azrul bin Tengku Azhar, head of innovation and commercialisation department, Cyberview SDN bhd

Dominic Yin,

Yin talked about Bay Area development by Chinese government – combining Guangzhou, Macao, and Hong Kong areas to compete with the likes of New York bay, San Francisco Bay, and Tokyo bay.

 

Maimunah Jaffar, head of planning and compliance, Iskander Regional development authority

Using simulations to anticipate the impact of urban development programmes by Dr Karl digital economy corporation

18% of GDP from Malaysian businesses

Building future talents

What’s tourism contribution to Thailand GDP?

Foreign investments into MSC is huge!

Malaysian digital hub

Keynote address: standardising data collection methods for improved patient analytics by YBhg Datuk Dr Shahnaz Murad, deputy DG of health, ministry of health

Combining use of technology with empathy of care by Mubbashir Iftikhar, digital transformation in charge, KPJ health care Bhd

Mohd Fazli Shuib, head of pharmacy department, FV hospital

Case study: smart Selangor blueprint by Dr Fahmi Ngah, CEO office of Selangor economics advisor

  • Real time environmental monitoring: PM 2.5 particle, historical data

Mobility

Crowdsourcing data – define exact location of potholes from waze reports

Repair efficiency

Waste management

Recycling culture

What’s next?

Contact

Better healthcare service through use of data

Panel discussion: incorporating strategies on information sharing into patient care digitisation

Moderator: Pavandeep Singh Dhillon, clinic alam medic, GP, sports physician

Panelists

Suresh Ponnudurai, CEO Malaysia healthcare.com

Michael Wong, MD Fresenius medical care Malaysia

Day 1 closing

Day 2 of the forum, 13 September 2017

Urban governance and technology by Datuk Dr Mohd Yusoff Sulaiman, President and CEO, Malaysian Industry-Government (MiGHT)

“A society’s technology determines the dev of its social structure and cultural value” Veblen

Energy – battery and energy storage

Materials – self destructive, less waste,

Health – body monitoring, 24/7 monitoring,

Automation and robotics – complex analysis, AI for subtle judgement, autonomous vehicles,

Blurring boundaries of traditional sectors

New urban agenda (UN) URL

Malaysia foresight institute (MiGHT) URL

Global trends and innovation URL

Future city catapult URL

Malacca smart city [URL1]  [URL2]

GSIAC smart city alliance URL

“The challenges and opportunities of smart cities supported ” Dominic Yin

One belt, one road [Wikipedia] [McKinsey]

The most important thing of smart city success is not money, but it’s the people, the willingness, the knowledge

New bay area (Pearl river delta) 100 million population,  [Wikpedia] [facts] [China development institute] [SCMP] [The state council]

Funding from AIIB [URL] [Wikpedia]

Beased on the history and culture of Malysia to create the faith and patriotism of the pople to establish livable and sustainable smart cities cluster that should include following elements

  1. smart people – everyone should be educated or retrained, no smart people, no smart city
  2. smart government – based on all data/proposales, planning must be integrated and controlled for , Peter Drucker “management by objective is no use, need management by results”,
  3. ecological environment – infrastructure and execution, execute and control the performance
  4. fair, just, and open – transparent and law enforcement,
  5. safety – prevention of natural, man made disasters, Macao makes a lot of money from casinos but one typhoon hit flattened everything because
  6. high efficiency, high effectiveness – technologies can help

img_7666.jpg

What to do

  1. mater plan
  2. wrong decision in individual projects will create chaos and disasters
  3. establish “system integration” to automatically control ALL the sub systems

Four wheel drive: difference with PPP (public private partnership), problem of PPP is that it will create CORRUPTION! Apart from government and private companies, we need NGO or the people and media to audit the work, so we have 5P (PPP + people + press)

  1. all levels of gov
  2. private companies
  3. people, NGO, NFO
  4. press, media

The work of 5P

  1. policy: long term and contitnuous plan, inc mission, goals for a smart city, Top design –
  2. strategies: what? Pearl river delta smart city, cluster will be expanded to neighbrouing cities and become independent, why? urban society (people migrating to cities), the density will not sustain the city services, results/output/outcome must be MRV (measurable, reportable, verifiable), when? road map, timetable, periodical and reasonable adjustment, How? 5P, BOT, BOO, BT, cooperation, coordination, system engineering with supply chain, how much? combination of HR, technologies, and finance, input and output analysis, work on ROI and IRR

German’s 4.0 concept

Digital disruption

  1. largest taxi company owns no taxi
  2. largest accomodation provider owns no real estate
  3. largest phone companies own no telco infrastructure e.g. skype
  4. facebook
  5. google
  6. etc

AI – what are we going to do with AI? Are they smarter than human? Can human beings control and make good use of AI?

  1. alphaGo
  2. etc

Money

  1. IFC & ADB
  2. one belt one road, AIIB, silk road fund
  3. SOEs
  4. private entreprenuers
  5. VC and LP
  6. government matching funds

“If a problem can’t be solved, enlarge it!” Eisenhaus

Requirements from ASEAN countries

  1. ten, hundred, thousand projects on one belt, one road
  2. the plus one conference 2017 for ASEAN show the requirements, China can match, start talking
  3. 13th five year economic development plan will end in 2020

Five in one arrangment

  1. economic
  2. political
  3. cultural
  4. social
  5. ecological civilisation

Four comprehensives

End of Yin’s talk

Achieving smart mobility, energy, and environmental management in future Asia Pacific cities by Darren Baars, Chief Advisor, New Zealand transport –

Expected outcome, must be clear

  • Health and safety
  • Security: crime, terrorism, accident
  • Innovation: cross cutting
  • Resilience of the systems: ability to endure and recover from shocks or disruptions
  • Efficiency of networks
  • Improved environmental performance: water quality
  • Growth or development?
  • Better living standards, more livable cities
  • Greater connectivity of network and systems

Means and tools: use resources more efficiently

  • Efficiency in transport activities
  • Water use
  • Land use and integration
  • Other resources and waste management

Substitute resources or renewable energy

  • Solar energy
  • Drone

Managing demand

  • Travel demands management
  • Water conservation
  • Personal information systems
  • Land use integration

Challenges and issues

  • Potential consumers confusion
  • Unintended consequences and potential stranded investment e.g.
  • Regulatory framework that can’t keep up or become obsolete
  • Expectation that various systems will interoperable
  • Risk of leaving some social groups behind
  • Social economic and environmental impact of new technologies

End of NZ talk

GSIAC smart cities alliance by Mahalil Amin bin Abdul Malek, Sustainable cities development in Malaysia project MiGHT

Malaysia is positioning itself as scientifically advanced country URL

iskandar Malaysia

Ipoh

Smart salangor

Alliances around the world

IoT as a driving factor in smart infrastructure in Asia by Safuan Yusof, Director of urban observatory, Iskandar regional development agency

Near Singapore, trying to attract businesses from Singapore. Smart Iskandar Malaysia is part of Johor, size of Singapore.

Blueprint.

KPI

Need knowledge workers from other areas. Joint I committee

Circle of sustainability

Data center

Focus on safety, most important factor for any city. Johor is getting 20bn investment over the past few years. Focus on high income jobs.

Digital evolution index

Free trade zone with alibaba [techcrunch] [China daily] Electronic world trade platform [PDF] Malaysia digital free trade zone [URL] [MDEC] Introduction to eWTP [Video] [Launch in Malaysia]

Malaysia Digital Economy Corporation or MDEC (formerly known as Multimedia Development Corporation Sdn. Bhd.) is the lead agency in driving the digital economy in Malaysia under the Ministry of Communications and Multimedia Malaysia. Since its inception 20 years ago, MDEC’s mission is to develop the nation’s digital economy. MDEC’s implementation efforts are centred on driving investments, building local tech champions, catalysing digital innovation ecosystems and propagating digital inclusivity. MDEC is also responsible to ensure that Malaysia plays an integral part in developing and nurturing talent to drive digital innovation around the world, while attracting participation from global ICT companies to invest and develop cutting edge digital and creative solutions in the country.

End of Iskandar Malaysia talk

Panel discussion: protecting data privacy

Panelists: Dato Dr Amirudin Abdul Wahab, CEO, Cyber security Malaysia, Zulkarnain Mohd Yasin, network security and enforcement chief officer, Malaysian communcations and multimedia commission (MCMC)

Panel discussion: the new decade of development, bringing future to the present

Panelists: Datuk Haji Mohammad bin Metek, Secreatary General, Ministry of urban wellbeing, housing, and local government, Zuhairi Abd Hamid, Executive director, Construction research institute of Malaysia

References

  1. Industrie 4.0 [URL] [Wikipedia]
  2. Industrie 4.0 in Thailand [URL]
  3. 2017 Digital IQ “How organizations can maximize and profit from technology investments” [URL]
  4. PWC Digital IQ report: A decade of digital Keeping pace with transformation [PDF]
  5. GovRank by NetNative [URL]
  6. 2017 Digital IQ: How organizations can maximize and profit from technology investments [URL]
  7. 2015 Global Digital IQ® Survey: Lessons from digital leaders 10 attributes driving stronger performance [PDF]
  8. Dubai airport smart gates [URL]
  9. McKinsey & Company: Nine questions to help you get your digital transformation right By Karel Dörner and Jürgen Meffert [URL]
  10. The Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) [URL]

Bangkok smart city projects

11 October 2017

There are many stakeholders when it comes to smart city developments in Bangkok. In this article, smart city projects in Bangkok have been compiled to reflect their concept, goals, and stakeholders. To this end, we need to work with these stakeholders to support them as well as to work towards the common goals for Bangkok.

Rajprasong

แนวคิด-เป้าหมาย

หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

TCDC creative cities

แนวคิด-เป้าหมาย

หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

Creative Charoen Krung [URL]

Autodesk BIM [URL]

กองทุนหมู่บ้าน

แนวคิด-เป้าหมาย

ความเป็นมา
“กองทุนหมู่บ้าน” ไม่ใช่เงิน !”กองทุนหมู่บ้าน” เป็นอะไรที่ใหญ่โต และมีคุณค่ายิ่งกว่าเงินมากนัก [URL]

กองทุนนี้ประกอบด้วย ทุนที่เป็นคนแต่ละคน ทุนทางสังคมที่ถักทอคนแต่ละคนมาเป็นกลุ่มคนหรือสังคม ทุนทางวัฒนธรรม คือวิถีชีวิตร่วมกันของกลุ่มคนที่บรรสานสอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม ทุนทางศีลธรรม หมายถึงความถูกต้องแห่งการอยู่ร่วมกัน เช่น ความเอื้ออาทรต่อกัน ความเชื่อถือและไว้วางใจกันได้ ความสุจริต ความเสียสละ ทุนทางทรัพยากร เช่น ดิน น้ำ ป่า อากาศ ไร่นา วัวควาย ที่มีการอนุรักษ์ มีการใช้อย่างเป็นธรรมและยั่งยืน ทุนทางปัญญา ได้แก่การเรียนรู้ร่วมกันในการปฏิบัติและนำเอาความรู้ที่มีอยู่ในชุมชน และความรู้จากภายนอกชุมชน มาสังเคราะห์เป็นปัญญาและการจัดการเพื่อให้การอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับคน คนกับธรรมชาติ และระหว่างชุมชนกับโลกภายนอกชุมชน เป็นไปอย่างรักษาความสมดุลไว้ได้ เพื่อความเป็นปรกติและยั่งยืน ทุนที่เป็นเงิน อันช่วยกันออมไว้เพื่อให้กระบวนการออมและการจัดการรวมทั้งตัวเงิน เป็นเครื่องกระตุ้นและส่งเสริมสร้างทุนที่ไม่ใช่เงิน ๖ ประการ

 

ทุนที่ไม่ใช่เงิน คือ คน สังคม วัฒนธรรม ศีลธรรม ทรัพยากร และ ปัญญา ถูกถักทอเข้าด้วยกัน “คุณค่าที่ไม่ใช่เงิน” (nonmonetary values) คือความใกล้ชิด ความเอื้ออาทรต่อกัน ความไว้เนื้อเชื่อใจ ความสุจริต ความเสียสละ คุณค่าที่ไม่ใช่เงินนี้มีพลังผูกพันเข้าไว้ด้วยกัน คุณค่านี้อาจเรียกว่าเป็น “ธรรมะแห่งการถักทอ”

 

ชุมชนจะก่อตัวขึ้นมาเองด้วย “ธรรมะแห่งการถักทอ” งอกงามและเติบโตไปโดยธรรมชาติ เป็นองค์กรโดยธรรม องค์กรโดยธรรมทำให้ทุกคนมีความสุขและสร้างสรรค์อย่างยิ่ง ตรงกันข้ามกับองค์กรโดยอำนาจที่ใช้กันโดยทั่วไปไม่ว่าในทางการเมือง ราชการ การศึกษา ศาสนา หรือธุรกิจ ซึ่งบีบคั้น ไม่สร้างสรรค์ และก่อให้เกิดความเครียด

 

อำนาจและเงินที่เข้าทำลาย “คุณค่าที่ไม่ใช่เงิน” และทำลายความเข้มแข็งของชุมชน หรือทำให้ความเป็นชุมชนไม่เกิดขึ้น แต่ถ้าเข้าใจใช้เงินให้ไปหนุนคุณค่าที่ไม่ใช่เงินเงินก็มีประโยชน์ในการส่งเสริมความเข้มแข็ง ของชุมชนได้

 

ผู้ที่เข้าไปทำงานชุมชนจะมีแต่เจตนาดีอย่างเดียวไม่ได้ทั่วโลกประสบความล้มเหลวในการแก้ไขความยากจนของคนชนบทเพราะอาศัยแต่เจตนาดีและเงินมหาศาลความเข้าใจธรรมชาติของการก่อตัวเองของชุมชนเข้มแข็งเป็นสิ่งสำคัญถ้าช่วยกันทำความเข้าใจก็จะเกิดอานิสงฆ์
มหาศาล ที่ทำให้ประเทศชาติรอดพ้นจากสภาวะวิกฤต

ประเวศ วะสี
24 มิถุนายน 2544

หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

มูลนิธิพระดาบส

แนวคิด-เป้าหมาย [URL]

หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

NESDB-JICA future cities

แนวคิด-เป้าหมาย

หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

Pahon Yotin TOD

แนวคิด-เป้าหมาย

หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

Pahon Yotin transit-oriented development [URL], [PDF]

about_3

Pahon Yotin TOD ©Office of transport and traffic policy and planning (OTP)

 

<h
ศรษฐกิจต้นแบบเจิรญกรุง โดย TCDC

แนวคิด-เป้าหมาย โครงการสร้างสรรค์เจริญกรุง (Co-Create Charoenkrung) เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ในการพัฒนาพื้นที่สร้างสรรค์ในย่านเจริญกรุง ซึ่งเคยเป็นย่านที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและสังคมในอดีต ให้เป็นพื้นที่สร้างสรรค์ต้นแบบของความเจริญทางธุรกิจสร้างสรรค์ ซึ่งตอบโจทย์ความต้องการทางกายภาพ จิตใจ เศรษฐกิจ และสังคม ผ่านการจัดทำกิจกรรมออกแบบพื้นที่สร้างสรรค์ร่วมกับชุมชนย่านเจริญกรุง และใช้องค์ความรู้การออกแบบบริการ (Service Design) ในการค้นหาปัญหาและแนวทางแก้ไขที่สอดคล้องกับชุมชน [URL]

หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

  1. TCDC [URL] [คุณค่าใหม่เจริญกรุง]
  2. สสส.

ระบบตั๋วร่วมโดยสนข.

แนวคิด-เป้าหมาย

Screen Shot 2017-10-05 at 4.51.36 PM

แผนการดำเนินงานระบบตั๋วร่วมปี ๒๕๖๐ ©สงวนลิขสิทธิ์ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)

Screen Shot 2017-10-05 at 4.59.04 PM.png

บัตรแมงมุม ©สงวนลิขสิทธิ์ สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.)

พรบ.ตั๋วร่วม หน่วยงานที่มีส่วนร่วม

  1. สนข [URL]
  2. มาตรฐานกลางระบบตั๋วร่วม [PDF]
  3. สำนักงานโครงการบริหารจัดการตั๋วร่วม [URL]

โครงการสนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะต้นแบบ โดยกระทรวงพลังงาน

การพัฒนาเมืองของชุมชนสู่เมืองอัจฉริยะ โดยเชื่อมโยงกับการใช้พลังงานในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งสู่การเป็น Clean Energy และ Green City ให้สามารถเป็นต้นแบบลดการใช้พลังงาน และลดคาร์บอนไดออกไซด์ตามเจตนารมณ์ของรัฐ และยังเป็นการสร้างมิติใหม่ของการพัฒนาเมือง — ดร. ทวารัฐ สูตะบุตร ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ)

กระทรวงพลังงาน โดย กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ร่วมกับ มูลนิธิอาคารเขียวไทย สนับสนุนโครงการสนับสนุนการออกแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart Cities – Clean Energy) เพื่อเป็นแนวทางหรือแบบรายละเอียดเบื้องต้น (Schematic Design) การพัฒนาเมืองของชุมชนสู่เมืองอัจฉริยะ โดยเชื่อมโยงกับการใช้พลังงานในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ มุ่งสู่การเป็น Clean Energy และ Green City เพื่อบริหารจัดการทรัยากรของเมืองให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น ระบบบริหารจัดการเครือข่ายพลังงานอัจฉริยะ (Smart Grid) ระบบการบริหารจัดการพลังงานระดับชุมชน (Community Energy Management Systems : CEMS) ระบบขนส่งอัจฉริยะ และยานยต์พลังงานทางเลือก เป็นต้น ทำให้ผู้อยู่อาศัยมีความสะดวกสบาย ลดการใช้พลังงาน เกิดการใช้พลังงานสะอาด และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยโครงการนี้จะสามารถเป็นต้นแบบลดการใช้พลังงาน และลดคาร์บอนไดออกไซด์ ตามเจตนารมณ์ของรัฐบาลไทย และยังเป็นการสร้างมิติใหม่ของการพัฒนาเมือง ให้สอดคล้องกับวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นำไปสู่เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City โดยมีโครงการที่ผ่านเข้ารอบทั้ง ๗ โครงการนี้ได้รับทุนการสนับสนุน รายละไม่เกินสิบล้านบาท เพื่อจัดทำโมเดลธุรกิจสำหรับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ครอบคลุมการจัดทำแบบประเมินค่าใช้จ่ายต่างๆ วิเคราะห์ความเหมาะสมด้านวิศวกรรมและการลงทุนดังนี้ [URL]

  1. โครงการ นิด้า : มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ รู้รักษ์พลังงาน สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
  2. มช. (เมือง) มหาวิทยาลัยอัจฉริยะพลังงานสะอาด
  3. เมืองจุฬาฯ อัจฉริยะ
  4. ธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต : ต้นแบบเมืองมหาวิทยาลัยอัจฉริยะ
  5. วิสซ์ดอม วัน-โอ-วัน
  6. ขอนแก่น Smart City (ระยะที่ ๑) : ขนส่งสาธารณะเปลี่ยนเมือง
  7. โครงการเมืองใหม่อัจฉริยะบ้านฉาง

Yannawa Riverfront Project [URL]

แนวคิดของโครงการพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่ริมน้ำย่านยานนาวา

  1. พื้นที่สาธารณะ ทางเดิน ทางจักรยานริมน้ำคุณภาพสูงเพื่อสุขภาวะที่ดียาวต่อเนื่อง กัน 1.2 กิโลเมตร ใจกลางกรุงเทพมหานคร
  2. พื้นที่สาธารณะที่ออกแบบเพื่อคนทุกกลุ่ม (inclusive & universal design)
  3. รูปแบบเขื่อนริมน้ำอเนกประโยชน์ ที่บูรณาการเงื่อนไขทางวิศวกรรม ประโยชน์ สาธารณะ และการสร้างสรรค์ภูมิทัศน์
  4. การพลิกฟื้นและพัฒนาฟื้นฟูย่านยานนาวา ซึ่งเป็นประวัติศาสตร์หน้าสำคัญของกรุงเทพฯ
  5. การกระตุ้นการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมภายของย่าน
  6. การเพิ่มความหลากหลายให้กับย่านท่องเที่ยวของกรุงเทพฯ
  7. การกระตุ้นการพัฒนาฟื้นฟูของย่านในระยะยาว
  8. การสร้างกลุ่มพลเมืองที่กระตือรือร้น (Active citizen) และสร้างเครือข่าย (Institutionalized network) ในการพัฒนาฟื้นฟูเมือง ที่จะช่วยขับเคลื่อนโครงการในอนาคต

หน่วยงานที่มีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาฟื้นฟูพื้นที่ริมน้ำย่านยานนาวา

  1. ศูนย์ออกแบบและพัฒนาเมือง
  2. ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
  3. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
  4. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  5. บริษัท ฉมา จำกัด
  6. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
  7. วัดยานนาวา
  8. สำนักการระบายน้ำ กทม.
  9. วัดสุทธิวราราม
  10. สำนักงานเขตสาทร กทม.
  11. กรมทางหลวงชนบท
  12. สำนักวิศวกรรม กรมเจ้าท่า
  13. สำนักบริหารที่ราชพัสดุกรุงเทพฯ
  14. กรมธนารักษ์
  15. สำนักความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมทางน้ำ กรมเจ้าท่า
  16. บริษัท คันทรี่ กรุ๊ป ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)
  17. สสส.
  18. องค์การสะพานปลา
  19. ชุมชนเจริญกรุง 66
  20. บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด
  21. เจริญกรุง 69
  22. สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร
  23. ชุมชนสวนหลวง1 เจริญกรุง 103
Screen Shot 2017-10-05 at 2.14.09 PM

All rights reserved © 2015 Yannawa Riverfront

Screen Shot 2017-10-05 at 2.23.20 PM.png

All rights reserved © 2015 Yannawa Riverfront

Smart grid projects

แนวคิด-เป้าหมาย หน่วยงานที่มีส่วนร่วม
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.) และ ศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษด้านเทคโนโลยีไฟฟ้ากำลังจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมดำเนินโครงการออกแบบเชิงรายละเอียดและศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการระบบนำร่องโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ จ.แม่ฮ่องสอน [URL] โครงการพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะระยะที่ 1 พัฒนาโครงข่างไฟฟ้าของ กฟภ. ในเขตพื้นที่เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี และพื้นที่เขตเมือง จังหวัดเชียงใหม่ นครราชสีมา และภูเก็ต พร้อมด้วยการติดตั้งมิเตอร์อัจฉริยะจำนวน 450,000 เครื่อง รวมถึงติดตั้งระบบ Smart Substation จำนวน 20 ชุด ติดตั้งสายไฟเบอร์ออพติก ระยะทาง 1,750 กิโลเมตร ติดตั้งสถานีชาร์จไฟฟ้าสาธารณะ 24 แห่ง โดยมีระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่ปี 2556-2560

๙ ที่ตั้งพระเมรุมาศจำลองพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ร.๙ในเขตกรุงเทพมหานคร

กรมประชาสัมพันธ์ ได้ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสถานที่ที่ประชา
มารถเดินทางไปร่วมถวายดอกไม้จันทน์ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้ตามจุดที่ใกล้เคียงกับที่อยู่อาศัยของประชาชนที่ไม่สะดวกมาถึงที่ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงได้ โดยในเขตกรุงเทพมหานครมีพระเมรุมาศจำลองทั้งหมด ๙ จุดดังนี้

85_big

๑) พระลานพระราชวังดุสิต

maxresdefault297

๒) บริเวณสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (เดิม)

07_big

๓) ลานคนเมืองศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร

1298356560

๔) พระปฐมบรมราชานุสรณ์รัชกาลที่ ๑

1322140840

๕) สวนนาคราภิรมย์

sw1k2

๖) ทิศเหนือ ที่สนามกองทัพอากาศธูปะเตมีย์ อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี

bitec

๗) ทิศใต้ ที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทคเขตบางนา

dsc_0587

๘) ทิศตะวันตก ที่พุทธมณฑลจังหวัดนครปฐม

kmutl

๙) ทิศตะวันออก ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เขตลาดกระบัง

©

ROW2 COL1 CONTENT ROW2 COL2 CONTENT ROW2 COL3 CONTENT
ROW3 COL1 CONTENT ROW3 COL2 CONTENT ROW3 COL3 CONTENT

Huawei connect 2017 “Grow with the cloud”

5 September 2017

4-8 September 2017

Shanghai New International Expo Centre (SNIEC), 2345 Longyang Rd, ShiJi GongYuan, Pudong Xinqu, Shanghai Shi, China, 201204

Keynotes

Grow with the cloud : enabling an intelligent world

Guo Ping, deputy chairman of the board, rotating CEO

In 20-30 years, we’ll become an intelligent world

Huawei cloud and public cloud with partners eg orange, Telefonica

Long term strategic investments in public cloud

Cloud alliance with star alliance, one world

Business model: Huawei will not monetise user data

50% of people in the world use Huawei networks

Security

Physical

Network

Host

Application

Data

On the ground services

Hybrid cloud model

Business scenarios e.g,

Industry scenarios e.g. Transportation, finance and government

Faster digitisation and intelligence

Gaming

Transportation

Manufacturing

Finance

Government

Public safety

Telcos

Health care

Global platform

A national public video cloud – 100% sharing,

Weifang city case

Yanbu city: 18% increase in both investment and jobs

Hybrid cloud – building a digital Huawei

Smart city : innovative Shanghai

Shanghai government official

Huawei cloud: bridging the present and future

Zheng Yelai, President, IT Product Line

Enabling the intelligent world, bridging today to tomorrow

Private cloud market

OpenStack

Car net services with Volkswagen and Telefonica

Philips – health care digital transformation, living, prevention, diagnosis, treatment,

ICBC – financial data warehouse, capital management, CRM,

Xuzhou – e government, public services,

Value creation

AI – algorithm, data, chipsets, integration is key

EI – enterprise intelligence – platform services, general AI services, scenario specific solutions

CPIC

Enabling intelligent supply chain – loading forecast, volume forecast, packing, delivery planning, document identification,

Anti financial fraud and money laundering by graph matching, graph data calculation,

Shenzhen traffic police

CERN nuclear particle experiment : 10M collisions per second, 1PB data per second,

Yang Xiaoling, CDO CPIC

AI helps pre calculate the sum insured

Pain points : customer experience, operations efficiency

Claim settlement is made more efficient using OCR technology – upload medical bill via mobile device, back office does the processing including image recognition and deep learning,

Li Qiang, Shenzhen traffic police – traffic brain, predicting traffic conditions, scalable, precise, and standardised

High bandwidth network

Traffic sensors

Law enforcement analytics

User experience

Enabling smart cities

5G connected car network : reliable and low latency

Traffic coordinator

Launch of Shenzhen traffic brain centre

Cloud challenge

1) data security 2) reliability 3) trustworthy partner – to fully replace the client IT department

Secured architecture

1) chipsets level security

2) threat discovery and blocking

Anti DDoS

Firewall

Database security

Jan van Eldik, CERN

Study fundamental structure of the universe

Science for peace

Train the next generation of physicists and engineers

20 physics experiment including LARGE Hadron collider LHC

CERN private Openstack cloud – 8500 servers with 280k cpu

Need 60x computing power by 2023

Resource to open telekom cloud by Telefonica and helix nebula the science cloud

Openstack provides software for both public and private cloud – CERN is a very large scale system

Thierry Bonhomme, Orange

Cloud market value

Flexible engine: orange public cloud services

NEGA methodology

E government development

1) Goals agreed

2) Organisation guaranteed : decision, management, execution

3) PDCA

4) Expected outcome

Mateyo Kaluba, CEO Zambia industrial development corporation

Zambian government seeks partnership to development the industries to promote job creation and economic growth as well as foreign investments.

Sumbele Felix – Cameroon postal service transformation

Huawei wireless city solutions

Network has become one of the essential infrastructure – enriching, equality, smooth communication, equal opportunities, information acquisition

Government and telecoms operator roles

1) different positions – government provides fair allocation of resources whereas operators are for profit

2) why WiFi? High cost effectiveness i.e. Cheap, easy to manage and maintain

3) on demand deployment

Why now?

1) Technical conditions have matured

2) Consumers are ready

3) Business model exists ie advertising models are ready

What should wireless city be like?

For government, intelligent city management

Wireless city solution architecture

Business operation of network gives full

Data analysis

One city, one policy

Success cases

Stock integration of wireless city sharing construction and big data application

Fu Dongshen

Shenzhen 7G smart network

Wireless integration lowers operation costs

How do we choose a location?

1) use existing infrastructure such as lamp poles

Perceiving big data applications

Public

Crowd location and dynamic

Crowd security

Pre warning system

Crowd guidance

Dongguan public WiFi

Overall architecture

Single sign on

Agile distributed architecture

Security

6 September 2017

Second day of Huawei connect conference

Keynote

Grow with the cloud

David Wang, President of Huawei products and solutions

Huawei will work with partners to build one of world five clouds

Cloud will enable digitisation

Grid connection in industrial enterprise vs cloud for digital transformation

Create value through cloud and connection

Connection and cloud are two key drivers – the synergies

 Huawei is the leader

Connection and intelligence

Better consumers experience

Shopping experience

WiFi for low cost seamless connection such as in retail, airports, hotels, and stadiums

First 10G WiFi and iot convergence

Immersive education: ubiquitous, fair and efficient

 

Dr Suchatvee, KMITL

Collaboration with CMU on research based programme

Campus network solutions : 100Gbps, SDN, cloud data centre, WiFi campus wide, HAINA Huawei academy

EC-IoT

City lighting management

Cloud managed gateway, VM,

Edge computing consortium

Michael Nilles, Schindler’s

Urban mobility

Digital transformation

Internet oF elevators and escalator

CUBE: machine intelligence, edge computing

Next

Consumers Internet

Industrial Internet

Industrial user Internet : decision support system

eLTE

Broadband + NB-IoT wireless connection

Qingyuan Jerry Li, VP and CEO of ABB China

China 2025 policy

Industrial robots

Innovation in industrial market

ABB and mckinsie

Smart manufacturing

Factory of the future : meet customer demand

On demand

Mass capacity

Automation to autonomous

Connectivity is the key in digital transformation

Wireless technology is the key enabler

Connectivity

Cloud data centre

Cloudfabric

Minimal O&M

Intelligent network analysis to identify network faults in minutes

400Gbps data center

Proactive defense system

Detect and block threats: detect, respond, and O&M

Technology is evolving fast

Joy Huang, VP solutions

Huawei cloud

Example of car as a service

Hardware innovation

HPC cloud

Atlas : next generation cloud platform

Software : how to build application quickly?

Suite of ready-made components

Orchestration

Publish application

App builder: Huawei Devcloud

AI: add value to business through intelligent analysis

Business scenarios

Optimisation algorithms

OCR: 97% accuracy – best in industry?

Graph analysis engine

6 degrees of separation

Graph rebuilding

Low light enhance

Super resolution

Image dehazing

Database as a service

Distributed database services : security

Wang Xiaoping, ICBC

Innovation labs

Big data platform

IoT cases

Cloud IoT : extensive cloud, pipe, device synergies

Tang Ting, Dongfong – joint venture with French PSA

Transformation from auto manufacturer to mobility services company

Diversity to digital and autonomous cars

Self driving by 2025

All cars connected by 2020

Mobility solutions

Next generation car

Thursday 7 September 2017

Huawei connect day 3 – a rainy day.

Huawei against all odds URL

Have courage and commit to it

Follow your passion

Keynote by

Yan Lida, Huawei

The ability to connect has altered the process of civilisation

Longgang district is Huawei HQ in Shenzhen

Online :

Offline : single window services

Unified organisation, data standard, and systems

There are no shortcuts for digital transformation

Industry digitalisation

A three sided effort

Transform business,

Convergence of physical and digital worlds

The ecosystem

1) trust

2) focus on Value creation

Agile service cloud

Platform for platforms

Open, secure, and reliable

Honeywell smart building solutions [Whitepaper]

Foster ecosystem growth

“Make the pie bigger, not bigger share of the small pie.” Huawei

“Be the most trusted partner” Huawei

 

Markus Kückelhaus, DHL

Speed of change is driven by

1) standardisation

2) digitalisation

3) cloud

52% of fortune 500 companies have disappeared over the past 15 years

Change or die

Aging society : by 2060 two thirds of the population will be between 40-80 years old

Logistics trend radar URL

Smart glasses in DHL warehouse “vision picking solution” [URL]

Drones

Drone delivery by DHL

Blockchain

Work with partners to achieve innovation

Reducing waiting time by 50%

Yu Dong

AI ecosystem

Leo from YITU – specialist in image analytics, deep learning, face recognition

YITU technology won first place in NIST contest 2017

Kate from Skyrec – sale analytics

City security

Last words

Patrick Zhang, President of marketing

Devcloud 2.0

Huawei agile network: ubiquitous services

Thai sculptures

11 December 2014

ประติมากรรมในประเทศไทยส่วนใหญ่สร้างขึ้นด้วยความศรัทธาในพระพุทธศาสนาไม่ว่าจะเป็นงานปั้น งานหล่อ หรืองานแกะสลักก็ตาม โดยงานแต่ละประเภทมีลักษณะสำคัญดังนี้

๑) งานปั้นหรือ casting เป็นงานสามมิติ มีลักษณะลอยตัว สร้างจากวัสดุที่มีลักษณะเหนียวจนแห้งและแข็งในที่สุด เช่น ดินเหนียว ดินน้ำมัน ปูน ขี้ผึ้ง หรือขี้เลื่อยผสมกาวเป็นต้น

๒) งานหล่อหรือ molding เริ่มสร้างแบบหล่อหรือ mold ก่อน สามารถทำซ้ำได้ ส่วนใหญ่วัสดุที่มีลักษณะเหลวและแข็งตัวในเวลาต่อมา เช่น โลหะสำริด ปูน ขี้ผึ้ง ปลาสติก

๓) งานแกะสลักหรือ carving จะแกะจากหิน เทียน ไม้ กระจก หรือปูนปลาสเตอร์

๔) การประกอบขึ้นรูปหรือ construction

 

ศิลปะยุคทวารวดี

อาณาจักรทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๖) เป็นของชนชาติมอญ ละว้า มีศูนย์กลางอยู่บริเวณจังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี อำเภออู่ทอง และกินพื้นที่ไปจนถึงภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงหนือ แถบ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดปราจีนบุรี และขึ้นไปถึงทางเหนือ จังหวัดลำพูน มีศิลปะเป็นของตนเอง ถึงแม้ว่าจะได้รับอิทธิพลจากต่างชาติอย่างมากก็ตาม

พระพุทธรูปยืนปางประธานอภัย

2014-11-07 13.49.16

ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรี

ศิลป์ พีระศรี หรือ Corrado Ferocci เกิดเมื่อวันที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี่ เข้าศึกษาทางด้านศิลปะในโรงเรียนราชวิทยาลัยศิลปะ แห่งนครฟลอเรนซ์ จบหลักสูตรวิชาช่าง ๗ ปีในขณะที่มีอายุ ๒๓ ปีและได้รับประกาศนียบัตรช่างปั้นช่างเขียน ซึ่งต่อมาได้สอบคัดเลือกรับปริญญาบัตรเป็นศาสตราจารย์มีความรอบรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ศิลป์วิจารณ์ศิลป์และปรัชญาโดยเฉพาะมีความสามารถทางด้านศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตรกรรม ปีพ.ศ. ๒๔๖๖ ท่านได้ชนะการประกวดการออกแบบเหรียญเงินตราสยามที่จัดขึ้นในยุโรป ด้วยเหตุนี้จึงเดินสู่แผ่นดินสยามเพื่อเข้ามารับราชการเป็นช่างปั้นประจำกรมศิลปากร ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ ๑๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๖๖ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์สอนวิชาช่างปั้นหล่อ แผนกศิลปากร สถานแห่งราชบัณฑิตสภา ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๘๕ ประเทศอิตาลียอมพ่ายแพ้แก่ฝ่ายสัมพันธมิตร ชาวอิตาเลียน ในประเทศไทยตกเป็นเชลยของ ประเทศเยอรมนี กับ ญี่ปุ่น แต่รัฐบาลไทยขอควบคุมตัวท่านศาสตราจารย์ คอร์ราโด เฟโรจี ไว้เอง และ หลวงวิจิตรวาทการ ได้ดำเนินการทำเรื่องราวขอโอนสัญชาติจากอิตาเลียนมาเป็นสัญชาติไทย โดยเปลี่ยนชื่อของท่านให้มาเป็น “นายศิลป์ พีระศรี” เพื่อคุ้มครองท่านไว้ ไม่ต้องไปถูกเกณฑ์เป็นเชลยศึก

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้เริ่มวางหลักสูตรวิชาจิตรกรรมและประติมากรรมขึ้นในระยะเริ่มแรกชื่อ โรงเรียนประณีตศิลปกรรม ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนศิลปากรแผนกช่าง และในปีพ.ศ. ๒๔๘๕ กรมศิลปากรได้แยกจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นอยู่กับสำนักนายกรัฐมนตรีและรัฐบาลในขณะนั้นโดย ฯพณฯจอมพลป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีตระหนักถึงความสำคัญของศิลปะว่าเป็นวัฒนธรรมที่สำคัญยิ่งสาขาหนึ่งของชาติ จึงได้มีคำสั่งให้ อธิบดีกรมศิลปากร ในขณะนั้นคือ พระยาอนุมานราชธน ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตร และ ตรา พระราชบัญญัติ ยกฐานะโรงเรียนศิลปากรขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยศิลปากร มีคณะจิตรกรรมประติมากรรม เป็นคณะวิชาเดียวของมหาวิทยาลัยศิลปากรเปิดสอนเพียง ๒ สาขาวิชาคือ สาขา จิตรกรรม และสาขา ประติมากรรม โดยมี ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรีเป็นผู้อำนวยการสอนและดำรงตำแหน่งคณบดี คนแรก

ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลไทยให้ออกแบบปั้นและควบคุมการหล่อพระราชนุสาวรีย์ และอนุสาวรีย์สำคัญของประเทศไทย โดยการปั้นต้นแบบสำหรับพระปฐมบรมราชานุสรณ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๗๗ อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี พ.ศ. ๒๔๘๔ พระราชานุสาวรีย์ของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สวนลุมพินี และการออกแบบพระพุทธรูปปางลีลา ประธานพุทธมณฑล

ผลงานที่สำคัญของอ.ศิลป์

๑) พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จังหวัดสุพรรณบุรี สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๗ [images]

๒) พระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่วงเวียนใหญ่ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ [images]

๓) พระบรมราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ ๑ [images]

๔) พระพุทธรูปพระประธานพุทธมณฑล ๒๕ พุทธศตวรรษ (ปางลีลา) ที่จังหวัดนครปฐม พ.ศ. ๒๔๙๘ [images]

๕) อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ [images]

๖) พระราชานุสาวรีย์ของสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สวนลุมพินี สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๔ [images]

๗) พระบรมราชานุสาวรีย์ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีขนาด ๓ เท่าคนจริง ประดิษฐานที่เชิงสะพานพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ท่านเป็นช่างปั้น และเดินทางไปควบคุมการหล่อที่ประเทศอิตาลี สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๒ [images]

๘) รูปปั้นหล่อประกอบอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ [images]

๙) รูปปั้นประดับอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน [images]

[http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=haiku&month=15-09-2009&group=2&gblog=25]

[http://th.wikipedia.org/wiki/ศิลป์_พีระศรี]

กรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ (สำริด พ.ศ. ๒๔๖๖) โดย ศิลป์ พีระศรี

พระเจ้าตาก (สำริด พ.ศ. ๒๔๙๗) โดย ศิลป์ พีระศรี

 

งานพระเจ้าตาก (สำริด/bronze) พ.ศ. ๒๔๙๗

ท่านค้นคว้ามาจากบรรดาคำบอกเล่าของชาวต่างชาติที่มาเมืองไทยในสมัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแล้วมีหนังสือบรรยายลักษณะของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกลับไปยังประเทศของตน ได้ข้อสรุปประมาณว่า ‘รูปร่างสันทัด(เป็นชายร่างเล็ก) พระพักตร์คมเข้ม พระขนง(คิ้ว) ที่ทรงขมวดเหมือนทรงครุ่นคิดอยู่ตลอดเวลาและท้ายที่สุดคือมีพระเนตรที่ดุดันทรงพลังดูน่ากลัวมากฯลฯ’ แต่เมื่อถึงงานปั้นที่จะต้องปั้นพระพักตร์ต้นแบบ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ไม่สามารถหาคนที่มีลักษณะโดยรวมที่ละม้ายคล้ายคลึงกับสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ตามที่ตนค้นคว้าไว้ได้ แต่แล้วจึงนึกถึงลูกศิตย์๒คนคือนายทวี นันทขว้างและนายจำรัส เกียรติก้องว่าหากนำทั้ง๒คนมารวมกันแล้วคัดเฉพาะที่เหมือนสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมาจาก๒คนนี้จึงจะได้ ท่านจึงขอร้องให้ลูกศิษย์ ๒ คนดังกล่าวมาเป็นต้นแบบโดยได้บอกลูกศิษย์ว่า’หน้าคุณ ๒ คนรวมกันจึงเหมือนสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช”

[http://kingthonburi.myreadyweb.com/article/category-8764.html]

รูปปั้นกรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ (สำริด/bronze) โดย ศิลป์ พีระศรี พ.ศ. ๒๔๖๖

กรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ (สำริด พ.ศ. ๒๔๖๖) โดยศิลป์ พีระศรี

กรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ (สำริด พ.ศ. ๒๔๖๖) โดยศิลป์ พีระศรี

ก่อนที่อ.ศิลป์จะปั้นพระรูปร.๖ พระองค์นริศได้ให้อ.ศิลป์ทดลองปั้นรูปพระองค์เองก่อน เมื่อดูผลงานนี้ก็สามารถสัมผัสได้ถึงความสง่างามในบุคคลิกของพระองค์

ภาพปั้นใบหน้าของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีความหน้าเกรงขาม ไปดูงานที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์” นั้น แต่เดิมนั้นห้องนี้เคยเป็นสถานที่ทำงานของอาจารย์ศิลป์มาก่อน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศิลป์ พีระศรี อนุสรณ์ และหอประติมากรรมต้นแบบ ตั้งอยู่ที่ กรมศิลปากร ถนนหน้าพระธาตุ กรุงเทพฯ 10200 เปิดให้เข้าชมในวันจันทร์-วันศุกร์ (ปิดวันเสาร์-อาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์) ในเวลา 09.00-16.00 น. โดยไม่เสียค่าเข้าชม สอบถามรายละเอียดได้ที่ โทร.0-2223-6162

[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=114247]

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เป็นพระโอรสลำดับที่ 62 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 พระมารดาคือ พระสัมพันธวงศ์เธอพระองค์เจ้าหญิงพรรณราย ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2406 และทรงเป็นต้นราชสกุล “จิตรพงศ์”

ทรงงานออกแบบไว้เป็นจำนวนมาก ทั้งงานภาพเขียนในวรรณคดี ภาพประดับผนัง พระราชลัญจกรและตราสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตาลปัตร ตลอดจนสถาปัตยกรรม ซึ่งเป็นที่รู้จักแพร่หลาย เช่น

๑) พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม [images]

๒) พระอุโบสถวัดราชาธิวาส [images]

๓) พระอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย์ [images]

ด้วยพระปรีชาสามารถทางด้านงานช่างนี้เอง ทำให้ทรงได้รับพระสมัญญานามว่า นายช่างใหญ่แห่งกรุงสยาม ….

source: https://www.gotoknow.org/posts/169809

 

เขียน ยิ้มศิริ

เขียน ยิ้มศิริ

เกิดเมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๔๖๕ ที่ กรุงเทพมหานคร

เรียนที่ โรงเรียนประณีตศิลปกรรม กรมศิลปากร (๒๔๘๔)

และปี ๒๔๙๓ ได้รับทุนกระทรวงศึกษาธิการ ไปศึกษาวิชาประติมากรรมที่ Chelsca School of Art ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ภายใต้การดูแลและแนะนำของ Henry Moore เป็นเวลา ๑ ปี ต่อมาปี ๒๔๙๖ ได้รับทุนจากรัฐบาลอิตาลีไปศึกษาประติมากรรมและประวัติศาสตร์ศิลป์ ณ สถาบันศิลปะแห่งกรุงโรม

กลับมาทำงานที่ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ สืบต่อจากอาจารย์ศิลป์ พีระศรี และดำรงตำแหน่งคณบดีในปี ๒๕๐๗

อ.เขียน ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๑๔ รวมอายุได้ ๔๙ ปี

[http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=46965]

รางวัล/เกียรติยศ :
2492-2493 – รางวัลเกียรตินิยม อันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทประติมากรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 1, 2
2494-2496 – รางวัลเกียรตินิยม อันดับ 2 เหรียญเงิน ประเภทประติมากรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 3, 4
2496 – ได้รับเกียรติยกย่องเป็นศิลปินชั้นเยี่ยม (ประติมากรรม)
2496 – ชนะการประกวดผลงานประติมากรรมในระดับนานาชาติ ณ TATE Gallery ลอนดอน อังกฤษ

ดินแดนแห่งความยิ้มแย้ม (สำริด พ.ศ. ๒๔๙๓) โดยเขียน ยิ้มศิริ

ดินแดนแห่งความยิ้มแย้ม (สำริด พ.ศ. ๒๔๙๓) โดยเขียน ยิ้มศิริ

ช่วง มูลพินิจ
เกิดเมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๓ ที่อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
การศึกษา
ผลงาน

อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน

เกิดเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๘๙ ที่ บางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร

เรียนที่คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ม.ศิลปากร ช่วงปี ๒๕๐๘ ถึงปี ๒๕๑๗ และไปอบรมเทคนิคการแกะสลักหินอ่อน เมืองคารารา ประเทศอิตาลีในปี ๒๕๒๒

เริ่มทำงานที่ม.ศิลปากรในปี ๒๕๑๔ จนดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๔๒

[http://www.fineart.msu.ac.th/visualart/specialist/nontiwat.html]

[http://www.thaiartproject.org/nontiva3.htm]

ขณิกะสมาธิ อุปปจาระสมาธิ อัปปนาสมาธิ

ขณิกะสมาธิ อุปปจาระสมาธิ อัปปนาสมาธิ (ปูนพลาสเตอร์ พ.ศ. ๒๕๔๖)

อ.นนทิวรรธน์ จันทนะผะลินพูดไว้ว่า “เราสร้างงานประติมากรรม เพื่อให้งานประติมากรรมสร้างเรา” และ “ชีวิตที่ถูกโหมกระหน่ำด้วยระลอกคลื่นแห่งอารมณ์และความรู้สึกนึกคิดวันแล้ววันเล่า เมื่อเป็นผู้มีดวงตาเห็นธรรมย่อมปรารถนาแสวงหามรรคาแห่งความหลุดพ้น มรรคแห่งความรู้ทางอารมณ์และความคิด และดำเนินไปตามเส้นทางนี้จะนำไปสู่ “ความว่าง” ซึ่งเป็นฐานสำคัญที่จะนำไปพบกับแสงสว่างแห่งปัญญาที่จะนำไปสู่ความเป็น “พุทธ” คือ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานในที่สุด”

พระพุทธสิหิงค์

พระพุทธสิหิงค์ (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธสิหิงค์ พระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานปัทม์ พระหัตถ์แสดงปางสมาธิ มีพระรัศมีคล้ายเปลวเพลิง สร้างขึ้นตามตำนานที่ปรากฏในนิทานพระพุทธสิหิงค์ แต่งเป็นภาษาบาลีโดยพระโพธิรังสี พระภิกษุชาวเชียงใหม่ในระหว่าง พ.ศ. ๑๙๔๕ – ๑๙๘๕ กล่าวว่าพระพุทธสิหิงค์สร้างโดยพระมหากษัตริย์กรุงลังกา เมื่อสร้างขึ้นแล้วเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์เหาะเหินเดินอากาศได้ พระร่วงเจ้ากรุงสุโขทัยโปรดให้พญาสิริธรรมนคร ผู้ปกครองเมืองสิริธรรมนครหรือนครศรีธรรมราชแต่งทูตอัญเชิญพระราชสาส์นทูลขอพระพุทธสิหิงค์มาจากพระเจ้ากรุงลังกา จึงได้พระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานสักการบูชาสืบเนื่องมาจนกระทั่งกรุงสุโขทัยได้เสื่อมอำนาจลง พระพุทธสิหิงค์ได้ถูกอัญเชิญเคลื่อนย้ายไปตามหัวเมืองสำคัญต่างๆ หลายแห่ง ได้แก่ พิษณุโลก กรุงศรีอยุธยา กำแพงเพชร เชียงราย และเชียงใหม่ ถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในปีพุทธศักราช ๒๒๐๕ ทรงอัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานไว้ในวัดพระศรีสรรเพ็ชญ์ พระพุทธสิหิงค์ประดิษฐานอยู่ในกรุงศรีอยุธยาเป็นเวลา ๑๐๕ ปีจนถึงพุทธศักราช ๒๓๑๐ กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า สันนิษฐานว่า พระพุทธสิหิงค์ถูกอัญเชิญกลับไปเชียงใหม่ ต่อมาเมื่อมีการสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นแล้ว สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท (วังหน้ารัชกาลที่ ๑) ทรงยกทัพไปเชียงใหม่ จึงอัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ ในพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า) เมื่อพุทธศักราช ๒๓๓๘ พระพุทธสิหิงค์จึงเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ที่นับถือของชาวกรุงเทพฯ มาแต่ครั้งต้นกรุงรัตนโกสินทร์ 

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระพุทธรูปทรงเครื่อง ปางมารวิชัย

พระพุทธรูปทรงเครื่อง ปางมารวิชัย (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธรูปปางมารวิชัยทรงเครื่องอย่างพระมหาจักรพรรดิ จากรูปแบบเครื่องประดับพระเศียรของพระพุทธรูปองค์นี้ คงได้รับแรงบันดาลใจจากศิลปะลังกา โดยเปรียบเทียบได้กับเครื่องประดับศีรษะของรูปเทวดาปูนปั้นในศิลปะสุโขทัย พระพุทธรูปทรงเครื่องอย่างพระมหาจักรพรรดิสร้างขึ้นตามความใน“ชมพูปติสูตร” ซึ่งเป็นเรื่องราวพุทธประวัติตอนที่พระพุทธเจ้าทรงปราบพระยาชมพูปติ ซึ่งภาษาไทยเรียก ชมพูบดี กล่าวถึงในช่วงที่พระพุทธเจ้าได้เสด็จประทับสำราญพระอิริยาบถ ณ พระเวฬุวันวิหาร ครั้งนั้นพระเจ้าพิมพิสาร กษัตริย์เมืองราชคฤห์ แห่งแคว้นมคธ พระยาชมพูบดีกษัตริย์ผู้ทรงอานุภาพเป็นที่ยำเกรงของบรรดากษัตริย์ทั้งหลายคุกคามข่มขวัญพระเจ้าพิมพิสาร พระองค์จึงเสด็จฯไปเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อขอให้เป็นที่พึ่ง พระพุทธองค์ทรงเล็งเห็นด้วยพระญาณว่าจะโปรดพระยาชมพูบดีได้ จึงทรงบันดาลพระเวฬุวันวิหารประดุจเมืองสวรรค์ พร้อมทั้งเนรมิตพระองค์เองทรงเครื่องพระจักรพรรดิราช แสดงบุญญานุภาพเหนือพระยามหากษัตริย์ทั้งปวง เพื่อคลายทิฐิมานะของพระยาชมพูบดี จากนั้นจึงทรงแสดงธรรมโปรดพระยาชมพูบดีจนกระทั่งสิ้นทิฐิมานะและขอบวชเป็นพระสาวกในพระพุทธศาสนา
พระพุทธรูปทรงเครื่องยังอาจหมายถึงพระโพธิสัตว์ศรีอาริยเมตไตรย พระอนาคตพุทธเจ้า คือพระพุทธเจ้าพระองค์ที่ ๕ ในภัททกัลป์ ที่จะมาบังเกิดเมื่อสิ้นสุดยุคของพระพุทธเจ้าโคตม

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระพุทธรูปถือตาลปัตร

พระพุทธรูปถือตาลปัตร (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธรูปสำริดลงรักปิดทองทรงเครื่องอย่างกษัตริย์ พระหัตถ์ซ้ายทรงกำด้ามตาลปัตรโลหะขนาดเล็กที่พระเพลา พระหัตถ์ขวาทรงงอนิ้วพระหัตถ์จับขอบพัดด้านบนระดับพระอุระ ตาลปัตร มาจากภาษาบาลีว่า “ตาลปตฺต” ตรงกับคำในภาษาสันสกฤตว่า “ตาลปตฺตร” หมายถึง “พัดที่ทำจากใบตาล” ในภาษาไทย เขียน “ตาลปัตร” อ่านว่า ตา-ละ-ปัด คติการถือตาลปัตรของพระภิกษุ (พระสงฆ์)เพื่อแสดงธรรมนั้นสันนิษฐานกันว่ารับมาจากลัทธิลังกาวงศ์ของลังกาซึ่งแผ่เข้ามาสู่ประเทศไทยครั้งแรกประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๐ เมื่อการนับถือพุทธศาสนาลังกาวงศ์แพร่หลายจึงพบพระพุทธรูปที่ทรงตาลปัตรเป็นพัดด้ามสั้น ทรงกำด้ามตาลปัตรที่พระเพลาด้วยพระหัตถ์ข้างหนึ่ง และพระหัตถ์อีกข้างหนึ่งทรงจับขอบพัดที่ด้านบน ลักษณะเช่นนี้ปรากฏทั้งในศิลปะสุโขทัยและศิลปะอยุธยาตอนต้น
พระพุทธรูปทรงตาลปัตรในศิลปะอยุธยาหลายองค์มีการประดับรูปจักรหรือธรรมจักรที่ฐาน ซึ่งตามปกติแล้วพระพุทธรูปทรงตาลปัตรย่อมหมายถึงพระพุทธรูปในอิริยาบถทรงแสดงพระธรรมเทศนา แต่การที่พระพุทธรูปบางองค์ประดับธรรมจักรที่ฐาน อาจเป็นไปได้ว่าผู้สร้างต้องการย้ำว่าขณะแสดงพระธรรมเทศนานั้นเป็นประหนึ่งพระบรมศาสดาทรงหมุนวงล้อแห่งธรรมเพื่อเผยแผ่พระศาสนาออกไปในสากลโลก

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระชัยเมืองนครราชสีมา

พระชัยเมืองนครราชสีมา (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธรูปแสดงปางมารวิชัย ประทับนั่งขัดสมาธิราบ ลักษณะพระพักตร์ทำตามพระพุทธรูปแบบอู่ทองรุ่นที่ ๒ หรือศิลปะอยุธยาตอนต้น พระวรกายโดยรอบมีจารึกอักษรขอม ภาษาบาลี อาทิ คาถากาสลัก (จะ ภะ กะ สะ) ซึ่งตามคัมภีร์วชิรสารัตถสังคหะ ที่แต่งโดยท่านรัตนปัญญาเถระ ให้ความหมายไว้ว่า กำเนิดจากพุทธธรรมมงคลสูงสุด ๓๘ ประการ จากรูปแบบตัวอักษรกำหนดอายุได้ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒ – ๒๓
“พระชัย” หรือ “พระไชย” เป็นพระพุทธรูปสำคัญมาแต่โบราณ ปรากฏในพระราชพงศาวดารตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช นามพระชัยมีความหมายว่า “ชัยชนะ” เนื่องด้วยแต่เดิมมีความมุ่งหมายเพื่ออัญเชิญไปในกองทัพยามออกศึกสงครามเพื่อให้ได้มาซึ่งชัยชนะ และการที่สร้างเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยก็มีความหมายว่าปราบมารได้ชัยชนะ นอกจากนี้ยังมีการอัญเชิญในพระราชพิธีต่าง ๆ เรียกว่า พระชัยพิธี สำหรับขจัดอุปสรรค อำนวยให้พิธีการสำเร็จผล

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระพุทธรูปปางลองหนาว

พระพุทธรูปปางลองหนาว (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธรูปปางลองหนาว พระพุทธรูปสำริดประทับนั่งทรงจีวรคลุมพระวรกายทดลองหนาว เพื่อจะได้ทรงทราบประมาณและประทานพระบรมพุทธานุญาตจีวรบริขารสำหรับภิกษุสงฆ์แต่พอดี
เหตุการณ์พระบรมศาสดาทรงจีวรคลุมพระวรกายเพื่อทดลองความหนาวนี้ในพระวินัยปิฎก มหาวรรค จีวรขันธกะ ได้ระบุว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จพระดำเนินจากนครราชคฤห์ไปนครเวสาลี ระหว่างทางได้ทอดพระเนตรเห็นภิกษุหลายรูปหอบผ้าพะรุงพะรัง จึงทรงพระดำริว่าจะตั้งกฎในเรื่องผ้าแก่ภิกษุทั้งหลาย โดยทรงทดลองห่มจีวรคลุมพระวรกายตลอดราตรีในฤดูหนาว ทรงจีวร ๔ ผืนพอทนหนาวได้จนรุ่งสาง พระพุทธองค์ทรงพระดำริว่า “กุลบุตรในธรรมวินัยนี้ ที่เป็นคนขี้หนาว กลัวต่อความหนาว ก็อาจดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยผ้าสามผืน ไฉนหนอ เราจะพึงกั้นเขต ตั้งกฎในเรื่องผ้าแก่ภิกษุทั้งหลาย เราจะพึงอนุญาตไตรจีวร.” ซึ่งไตรจีวร ที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตแก่ภิกษุสงฆ์นั้น ได้แก่ ผ้าสังฆาฏิ ๒ ชั้น ผ้าอุตราสงค์ชั้นเดียว ผ้าอันตรวาสกชั้นเดียว พระพุทธรูปปางลองหนาว เป็นพุทธปฏิมาที่หาได้ยาก พระพุทธรูปปางนี้ที่สำคัญคือ พระพุทธรูปประจำพระชนมพรรษา ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปรากฏตามจารึกที่ฐานชั้นล่างว่า “พระพุทธปฏิมา มีอาการนั่งทรงผ้าคลุมพระสรีราพยพลองหนาว…” ทั้งนี้รัชกาลที่ ๖ เสด็จพระราชสมภพเดือนมกราคมซึ่งอยู่ในฤดูหนาว

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระพุทธรูปปางฉันสมอ

พระพุทธรูปปางฉันสมอ (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระฉันสมอ พระพุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิเพชร พระหัตถ์ขวาวางคว่ำบนพระชานุ พระหัตถ์ซ้ายวางหงายบนพระเพลา สันนิษฐานว่าแต่เดิมเคยมีผลสมอวางอยู่ในพระหัตถ์ซ้าย พระพุทธรูปองค์นี้ครองจีวรแบบพุทธศิลป์จีน จีวรลายดอกลงยาสี และเปลวรัศมีก็ลงยาสีเช่นกัน ประดิษฐานบนปัทมาสน์(ฐานบัว) มีผ้าทิพย์ลงยาสีห้อยตรงกลาง ฐานพระกับองค์พระแยกออกจากกัน รูปแบบของพระฉันสมอองค์นี้คล้ายคลึงกับพระฉันสมอที่วัดอัปสรสวรรค์วรวิหาร กรุงเทพมหานคร พระพุทธรูปสำคัญที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานเจ้าพระยาพลเทพ (ฉิม) (บิดาของเจ้าจอมน้อย (สุหรานากง) ไปประดิษฐาน ณ วัดอัปสรสวรรค์
ตามความในพระพุทธประวัติ เหตุการณ์สัปดาห์ที่ ๗ ภายหลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสรู้ พระพุทธองค์เสด็จมาประทับเสวยวิมุติสุขใต้ร่มไม้เกต (ราชายตนพฤกษ์) ตลอด ๗ วัน ท้าวสักกเทวราช (พระอินทร์) ทรงทราบว่า ภายหลังจากที่สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสรู้มา ๗ สัปดาห์ รวม ๔๙ วัน ยังมิได้เสวยภัตตาหารเลย รุ่งขึ้นซึ่งเป็นวันขึ้น ๖ ค่ำ เดือนอาสาฬหะ (เดือน ๘) จะทรงมีพุทธกิจรับข้าวสัตตุผง สัตตุก้อน พระกระยาหารจากสองพ่อค้า ตปุสสะ และ ภัลลิกะ พระอินทร์จึงน้อมถวายผลสมอเป็นพระโอสถ
“ผลสมอ” ภาษาบาลี/สันสกฤต เรียกว่า “หรีตกะ” ขณะที่ “ผลมะขามป้อม” ภาษาบาลี/สันสกฤต เรียกว่า “อามลกะ” ทั้ง ๒ คำนี้ปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก นักวิชาการด้านภาษาบาลี/สันสกฤตอธิบายว่า “ผลสมอ” หรือ “หรีตกะ” คือ อามลกะที่มีผลเหลือง แต่ในภาษาไทย ผลสมอ กับ ผลมะขามป้อมมีรูปลักษณะและรสที่ต่างกัน แม้ว่าจะใช้เป็นโอสถได้เช่นเดียวกัน ในพระพุทธศาสนาฝ่ายมหายาน พระไภษัชยคุรุไวฑูรยประภา พระพุทธเจ้าแพทย์จะทรงถือผลมะขามป้อมเป็นสัญลักษณ์ ซึ่งแม้ว่าพระพุทธรูปปางฉันสมอองค์นี้จะมีพุทธลักษณะจะคล้ายกับพระพุทธเจ้าแพทย์แบบฝ่าย

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระพุทธรูปปางโปรดมหิสสรเทพบุตร

พระพุทธรูปปางโปรดมหิสสรเทพบุตร (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธรูปปางโปรดมหิสสรเทพบุตร แสดงประติมากรรมรูปพระพุทธเจ้าขนาดเล็กประสานอยู่ที่พระเพลา (ปางถวายเนตร) อยู่บนเศียรของมหิสสรเทวะ หรือ มหิสสรเทพบุตร (เทพผู้เป็นใหญ่หมายถึงพระมเหศวรหรือพระอิศวร) สองกร นั่งคุกเข่าในท่าพนมมือ บนฐานซึ่งหล่อเป็นรูปเขาพระสุเมรุ (ที่ประทับของพระอิศวร) มหิสสรเทพบุตรสวมมงกุฎ และเครื่องทรงตามแบบศิลปะอยุธยาตอนปลาย-รัตนโกสินทร์ตอนต้น และอิริยาบถของพระพุทธรูปปางถวายเนตรที่ประทับยืนบนพระเศียรมหิสสรเทวะนั้น ไม่ปรากฏการสร้างขึ้นมาก่อนรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ จึงอาจกำหนดอายุของประติมากรรมชิ้นนี้ได้ว่าน่าจะสร้างขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๔
เรื่องราวของมหิสสรเทวะ หรือ มหิสสรเทพบุตรปรากฏในวรรณกรรมพระพุทธศาสนาสมัยกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งฝ่ายเถรวาทที่ปรากฏในประเทศไทย อาทิ โลกสัณฐานโชตรตนคัณฐี โลกบัญญัติ ไตรภูมิโลกวินิจฉยกถา ได้พรรณนาลักษณะของมหิสสรเทวะไว้คล้ายคลึงกับพระอิศวร ในศาสนาพราหมณ์หรือฮินดู

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระพุทธรูปปางขอฝน

พระพุทธรูปปางขอฝน (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธรูปปางขอฝนนี้เป็นพระพุทธรูปยืนครองจีวรห่มเฉียงบนฐานบัวขาสิงห์ย่อมุม ด้านหน้าของฐานประดับหน้ากาล พระหัตถ์ขวายกขึ้นในท่ากวัก พระหัตถ์ซ้ายนั้นหงายขึ้นยกเสมอบั้นพระองค์ในอิริยาบถรองรับน้ำฝน เดิมทีพระพุทธรูปปางขอฝนปรากฏอยู่ในเอกสารสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลายกล่าวถึงนาม “พระพุทธคันธาระ”ว่าเป็นหนึ่งในบรรดาพระพุทธรูปสำคัญประจำกรุงศรีอยุธยาใช้ในพระราชพิธีขอฝน ความรับรู้นี้คงสืบมาถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ นี้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์จึงมีพระราชดำริในโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระพุทธรูปปางขอฝนขึ้นเพื่อใช้ประกอบพระราชพิธีพืชมงคลมาก่อน
พระพุทธรูปนี้สร้างขึ้นตามเหตุการณ์ในพุทธประวัติ เมื่อครั้งพระพุทธองค์ประทับ ณ เชตวัน กรุงสาวัตถี ในครานั้นเกิดทุพภิกขภัยฝนแล้งอย่างหนัก ส่งผลให้ประชาชนเดือดร้อนไปทุกหย่อมหญ้า แม้แต่สระโบกขรณีที่เป็นแหล่งพุทธบริโภคเองยังเหือดแห้งจนสัตว์น้ำต่างๆ เกยตื้นถูกนกกาจับกินไปเป็นอันมาก วันหนึ่งหลังจากพระพุทธองค์กลับจากบิณฑบาต หลังเสร็จภัตกิจแล้ว ทรงยืนที่ขอบสระแล้วเรียกหาผ้าชุบสรง (อุทกสาฏก) จากพระอานนท์ ทรงพาดผ้าบนพระอังสะซ้าย แล้วยกพระหัตถ์ขวากวักเรียกฝน ส่วนพระหัตถ์ซ้ายยกขึ้นเสมอบั้นพระองค์รอรับน้ำฝน ไม่นานสิ่งมหัศจรรย์ก็บังเกิดขึ้น มีเมฆดำตั้งเค้ามาจนเกิดฝนตกห่าใหญ่ พระพุทธองค์จึงได้สรงน้ำตามพุทธประสงค์
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เมื่อพุทธศักราช ๒๔๕๓ โปรดเกล้าฯ ให้นายอัลฟอนโซ ทอร์นาเรลลี (Alfonso Tornarelli) ศิลปินชาวอิตาลี ปั้นแบบสำหรับหล่อพระพุทธรูปปางคันธารราฐ (หรือคันธาระ) ที่มีลักษณะเหมือนจริงใกล้เคียงกับมนุษย์มากขึ้น อย่างไรก็ตาม พระพุทธรูปนั้นมีลักษณะใกล้เคียงกับชาวกรีกอย่างมากแตกต่างจากพระพุทธรูปองค์นี้ที่มีความเป็นไทยมากขึ้น ซึ่งพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะแบบนี้ นิยมสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวต่อเนื่องมาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า พระพุทธรูปปางขอฝน
พระพุทธรูปปางปางขอฝน นี้เป็นพระพุทธรูปประจำเดือนห้า อนึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเกิดคติความเชื่อว่า พระพุทธรูปปางขอฝนนี้เป็น พระพุทธรูปประจำวันอังคาร อีกด้วย

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์

พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร)

พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์นี้ แสดงพระพุทธองค์ประทับห้อยพระบาทบนโขดหิน ครองจีวรห่มเฉียงลายดอก เบื้องพระพักตร์ซ้ายขวามีช้างชูงวงถวายกระบอกน้ำและลิงถวายรวงผึ้ง พระหัตถ์ซ้ายและขวาวางบนพระเพลา ในขณะที่พระหัตถ์ขวาหงายขึ้นแสดงอาการทรงรับกระบอกน้ำจากช้าง แต่พระหัตถ์ซ้ายวางคว่ำลงแสดงการปฏิเสธรวงผึ้งจากวานร เหตุการณ์นี้เป็นตอนหนึ่งในพุทธประวัติที่กล่าวถึง ว่าหลังพระพุทธเจ้าตรัสรู้ได้ ๑๐ พรรษา ได้พำนักกับภิกษุที่โฆสิตาราม กรุงโกสัมพี แต่เหล่าสงฆ์เกิดความแตกแยกกัน แม้จะทรงห้ามปรามหลายครั้งก็ยังไม่สามารถลดความบาดหมางได้ จึงทรงวางอุเบกขาออกไปหาความสงบ ณ ป่ารักขิตวัน โดยมีช้างหัวหน้าโขลงชื่อ“ปาลิไลยกะ”(แปลว่า “ผู้เป็นที่รักหรือบุตรแห่งป่าปาลิไลย” เพราะถือกำเนิดในป่านี้) เป็นผู้อุปัฏฐากคอยดูแลปัดกวาดที่ประทับด้วยกิ่งไม้ใบไม้หาน้ำและผลไม้ป่าต่างๆ มาถวายพระพุทธองค์ทุกวัน ยามค่ำคืนก็ใช้งวงนั้นถือท่อนไม้คอยระแวดระวังภัยมิให้ผู้ใดมากล้ำกราย
วันหนึ่งมีพญาวานรผ่านมาและสังเกตเห็นว่า ช้างปาลิไลยกะได้ดูแลพระพุทธองค์อย่างดี จึงเกิดความเลื่อมใส พญาวานรจึงนำรวงผึ้งไปถวายพระพุทธองค์บ้าง ครั้งแรกทรงเฉยไม่รับรวงผึ้งนั้น พญาวานรพิจารณาดูจึงเห็นว่ายังมีตัวอ่อนของผึ้ง เมื่อได้ปัดตัวอ่อนนั้นไปเสีย พระพุทธองค์จึงรับรวงผึ้งนั้นไว้ ทำให้พญาวานรดีใจลิงโลดโหนไปตามยอดไม้จนพลัดตกลงมาถูกตอไม้แทงตาย แล้วไปเกิดเป็นเทพบุตรบนสวรรค์ด้วยผลบุญที่ได้กระทำไว้
สำหรับเหล่าภิกษุผู้ว่ายากนั้น เมื่อชาวเมืองโกสัมพีทราบว่า พระพุทธองค์ปลีกวิเวกไปอยู่ป่าเพราะความบาดหมางระหว่างภิกษุ จึงเลิกบำรุงภิกษุเหล่านั้น แต่เมื่อนั้นเขาจึงลดทิฐิคลายความขัดแย้งลง และเดินทางมากราบทูลอาราธนาให้เสด็จฯกลับ เมื่อนั้นพระศาสดาจึงกลับเข้าเมืองอีกครั้ง ช้างปาลิไลยกะเดินตามจนสุดเขตป่ารักขิตวันแล้วหัวใจสลายตายไปเกิดเป็นเทพบุตรชื่อ “ปาลิไลยกะ” ด้วยกุศลที่ได้สร้างนั้น
คำว่าปาลิไลยกะ ภาษาไทยเรียกและเขียนว่า ป่าเลไลย์ นำมาใช้เป็นชื่อเรียกปางหนึ่งของพระพุทธรูปคือ พระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ ถือกันว่าเป็นพระพุทธรูปประจำวันของผู้ที่เกิดวันพุธในเวลากลางคืนตั้งแต่หกโมงเย็นของวันพุธจนถึงหกโมงเช้าชองวันพฤหัสบดีตามการกำหนดในโหราศาสตร์

ที่มา:  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

Océans (2009)

6 January 2014

Océans เป็นหนังของชาวฝรั่งเศสที่กำกับโดย Jacques Perrin และ Jacques Cluzaud ใช้เวลาวางแผนถึง ๒ ปีและถ่ายทำอีก ๔ ปีจึงออกมาเป็นผลงานที่น่าทึ่งชิ้นนี้

ภาพยนต์สารคดีเรื่องนี้แสดงให้เห็นว่าธรรมชาตินั้นยิ่งใหญ่เหนือมนุษย์อย่างเปรียบเทียบกันมิได้ โดยเร่ิมจากเกาะกาลาปากอสที่มีปูกับนกเป็ดน้ำ ตามออกไปนอกโลกกับยานอวกาศที่มองลงมาเห็นภูเขาไฟและผิวโลก ตามไปดูปลาและสัตว์ทะเลที่อยู่ลึกมากๆ ฉากคลื่นกลางทะเลที่ทำให้เรือรบลำใหญ่เกือบล่มก็แสคงให้เห็นความยิ่งใหญ่ของธรรมขาติไม่ว่าเราจะยิ่งใหญ่แค่ไหนบนพื้นดินแต่เมื่อไปอยู่ในทะเลตัวเราก็จะเล็กลงไปอย่างถนัดตา

นอกจากภาพที่สวยงามและน่าตื่นตาแล้ว  Perrin และทีมยังใช้อุปกรณ์ดำน้ำแบบพิเศษที่สามารถพาทีมตากล้องไปในน้ำด้วยความเร็วเดียวกับปลาฉลามและปลาอื่นๆนำคนดูให้เข้าไปอยู่ในใต้ทะเลลึกได้อย่างเสมือนจริงมากๆ

แหล่งข้อมูล

[1] http://www.pathefilms.com/dvd/oceans

[2]  Océans: The Fish Story That Is Sweeping France, TIME, Feb 2010.

[3] Wikipedia

Irving Penn

26 December 2013
Irving Penn เป็นช่างภาพแฟชั่นและโฆษณา Penn ทำงานกับนิติยสาร Vogue, New Yorker, Vanity Fair และถ่ายภาพโฆษณาให้กับสินค้าดังๆมากมาย

Penn เกิดเมื่อ ๑๖ เมษายน ค.ศ.๑๙๑๗ ที่เมือง Plainfield รัฐ New Jersey สหรัฐอเมริกา
ตายเมื่อ ๗ ตุลาคม ค.ศ.๒๐๐๙ ที่เมือง New York รัฐ New York สหรัฐอเมริกา (อายุ ๙๒ ปี)

Penn เรียนมหาวิทยาลัยที่ Philadelphia Museum School of Industrial Art หรือ University of the Arts ช่วงปีคศ. ๑๙๓๔-๑๙๓๘ เค้าเรียนวิชา drawing, painting, graphics, และ industrial arts กับอ. Alexey Brodovitch และฝึกงานที่สำนักพิมพ์ Harper’s Bazaar ซึ่งต่อมาได้พิมพ์ภาพวาดของ Penn หลายภาพ

กล้องที่ Penn ใช้มีความหลากหลายขึ้นอยู่กับสถานการณ์และความเหมาะสม Penn ใข้กล้อง 135 ทั้ง Leica และ Nikon หรือบางครั้งก็ใช้ 4X5 หรือ 8X10 Deardorff view cameras บางครั้งก็ใช้พวก 6×6 เช่น Rolleiflex กับ Hasselblad งานขาว-ดำในห้องมืดทั้งหมด Penn จะเป็นคนทำเอง ส่วนงานสีจะส่งแล็บที่เขาไว้ใจ [1]   
ในบทสัมภาษณ์กับ New York Times [4] ผู้สัมภาษณ์ได้ไปพบ Penn ที่สตูดิโอของเขาใน Manhattan ซึ่งหลายคนที่เคยมาที่นี่มักเรียกสตูดิโอนี้ว่า “โรงพยาบาล” เพราะที่นี่เป็นห้องเรียบๆไม่มีรูปห้อยอยู่เลย ผนังเป็นสีขาวสะอาดตัดกับขอบสีเทาเรียบง่าย ที่นี่ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามส่งเสียงดัง ห้ามเปิดเพลงและห้ามทิ้งขยะ เมื่อตอนที่ Penn ถ่ายภาพก้นบุหรี่เค้าก็ไปเก็บก้นบุหรี่มาจากข้างถนนและมาจัดวางอย่างปรานีถในสตูดิโอที่แสนสะอาดของเขาแห่งนี้
STILL-LIFE COVER BY IRVING PENN, VOGUE, 1943. [http://www.condenast.com/about-us/heritage/1943/irving-penn-joins-vogue-staff]

STILL-LIFE COVER BY IRVING PENN, VOGUE, 1943. [http://www.condenast.com/about-us/heritage/1943/irving-penn-joins-vogue-staff]

Irving Penn's Cigarettes, Street Findings, 1999

Irving Penn’s Cigarettes, Street Findings, 1999

Irving Penn. Rooster, New York, 2003.

Irving Penn. Rooster, New York, 2003.

Irving Penn, Frozen Foods with String Beans, 1977

Irving Penn, Frozen Foods with String Beans, 1977

Irving Penn at Work in New Guinea, New Guinea, 1970.

Irving Penn at Work in New Guinea, New Guinea, 1970.

Irving Penn. Broken Egg, New York, 1959.

Irving Penn. Broken Egg, New York, 1959.

 

Irving Penn: “Picasso, Cannes” 1957

Irving Penn: “Picasso, Cannes” 1957


Irving Penn "Salad Ingredients", New York, 1947 © Estate of Irving Penn

Irving Penn
“Salad Ingredients”,
New York, 1947
© Estate of Irving Penn

JEAN PATCHETT VOGUE MODEL & IRVING PENN video series

References

[1] http://www.photo-seminars.com/Fame/irving_penn.htm

[2] Irving Penn: Portraits at the National Portrait Gallery, 3 March 2010.

[3] Irving Penn profile, the professional protographer. 17 Dec 2009.

[4] Irving Penn Is Difficult. ‘Can’t You Tell?’ By VICKI GOLDBERG, The New York Times, 24 Nov 1991.

[5] Irving Penn, Obituary. The Telegraph, 8 Oct 2009.

[6] Irving Penn, Fashion Photographer, Is Dead at 92. The New York Times, 8 Oct 2009.

[7] Paring Glance. The New York Times blog, 7 Oct 2009.

Sebastião Salgado

26 December 2013

Sebastião Salgado เกิดเมื่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ค.ศ. ๑๙๔๔ ที่เมือง Aimorés, Minas Gerais ประเทศบราซิล ปัจจุบันใช้ชีวิตอยู่ที่เมืองปารีส ประเทศฝรั่งเศส

ในหนังสือเล่มล่าสุดของ Salgado ชื่อ Genesis (ต้นกำเนิด) หรือจดหมายรักจาก Salgodo ถึงโลกใบนี้ เขาได้กล่าวไว้ว่า “We must preserve what exists” ซึ่ง Salgado หมายถึงการอนุรักษ์โลกใบนี้ไว้และซ่อมแชมความเสียหายที่มนุษย์ได้ทำขึ้นให้ได้ดีที่สุด เขาได้ออกเดินทางมากกว่า ๓๒ ครั้ง ทั้งเดินเท้า นั่งเครื่องบินเล็ก เรือทะเล เรือแคนนู และบอลลูนเพื่อไปบันทึก ธรรมชาติ สัตว์ป่า สัตว์ในทะเลและชีวิตของคนท้องถิ่นทั้งในทวีปอัฟริกา ทะเลทรายซาฮาร่า ป่าอมาซอน หมู่เกาะกาลาปาก๊อส อลาสก้า ทวีปอ๊ากติกและแอนต๊ากติก [๖]

Southern right whale, Salgado, Sep-Oct 2004. [6]

Southern right whale, Salgado, Sep-Oct 2004. [6]

Salgodo. Active volcano on Saunders Island. Hills are covered by ice and ash. The island is inhabited by penguins of several species, notably 150,000 couples of chinstrap penguins. Nov-Dec 2009. [6]

Salgodo. Active volcano on Saunders Island. Hills are covered by ice and ash. The island is inhabited by penguins of several species, notably 150,000 couples of chinstrap penguins. Nov-Dec 2009. [6]

Salgado. A colony of black-browed albatrosses on Willis Islands, South Georgia. Nov-Dec 2009. [6]

Salgado. A colony of black-browed albatrosses on Willis Islands, South Georgia. Nov-Dec 2009. [6]

Salgado. Baobab trees on a mushroom island in Bay of Moramba, Madagascar. Nov-Dec 2010. [6]

Salgado. Baobab trees on a mushroom island in Bay of Moramba, Madagascar. Nov-Dec 2010. [6]

Salgado. Africa elephants. Kafue National Park, Zambia. July-Aug 2010. [๖]

Salgado. Africa elephants. Kafue National Park, Zambia. July-Aug 2010. [๖]

 

The Sand Sea in Namibia, 2005. Famous for putting a human face on economic and political oppression in developing countries, Mr. Salgado is photographing the most pristine vestiges of nature he can find: pockets of the planet unspoiled by modern development, Jori Finkel writes. Photo: Sebastiao Salgado/Amazonas Images/Contact Press Images, courtesy of the Peter Fetterman Gallery

The Sand Sea in Namibia, 2005.
Famous for putting a human face on economic and political oppression in developing countries, Mr. Salgado is photographing the most pristine vestiges of nature he can find: pockets of the planet unspoiled by modern development, Jori Finkel writes.
Photo: Sebastiao Salgado/Amazonas Images/Contact Press Images, courtesy of the Peter Fetterman Gallery [2]

A cattle camp in southern Sudan in 2006. “Genesis” is his globally minded, photo-driven counterpart to the Instituto Terra in in southeastern Brazil, founded by Mr. Salgado and his wife, which was created to undertake an ambitious reforestation project. As Ian Parker wrote, Mr. Salgado is more than a photojournalist, “much the way Bono is something more than a pop star.” Photo: Sebastiao Salgado/Amazonas Images/Contact Press Images, courtesy of the Peter Fetterman Gallery [New York Times]

Salgado. Cattle camp of Kei. The Dinka identifies the best bulls to breed by the shape of their horns. Feb-Mar 2006. [6]

Boys fleeing from Southern Sudan to avoid being forced to fight in the civil war, and heading for the refugee camps of Northern Kenya in 1993. “Genesis” is not so much a departure from his previous work than it might at first seem. He still works in black and white, and his work still culminates in photo essays that reveal something about an entire species. His fundamental subject is social systems, and now ecosystems, Jori Finkel writes. Photo: Sebastiao Salgado/Amazonas Images/Contact Press Images, courtesy of the Peter Fetterman Gallery [New York Times]

Boys fleeing from Southern Sudan to avoid being forced to fight in the civil war, and heading for the refugee camps of Northern Kenya in 1993.
“Genesis” is not so much a departure from his previous work than it might at first seem. He still works in black and white, and his work still culminates in photo essays that reveal something about an entire species. His fundamental subject is social systems, and now ecosystems, Jori Finkel writes.
Photo: Sebastiao Salgado/Amazonas Images/Contact Press Images, courtesy of the Peter Fetterman Gallery [New York Times]

Look, ma! No hands! Salgado photographed these chinstrap penguins on icebergs between the Zavodovski and Visokoi islands in the South Sandwich Islands, near Antarctica. (2009.) [TED Blog]

Salgado. Chinstrap penguins on an iceberg located between Zavodovski and Visokoi islands. South Sandwich Islands. Nov-Dec 2009 [6]

เซากาโด้พูดที่ TED Talks เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๒๐๑๓

เอกสารอ้างอิง

[๑] Biography: Sebastião Salgado, The Guradian UK, 11 Sep 2004.

[๒] Back to Nature, in Pictures and Action, The New York Times, 27 May 2009.

[๓] Amazonas Images Press Agency – มีวีดิโอหลายเรื่อง

[๔] TED Talks

[๕] TED Blog

[๖] Genesis by Sebastião Salgado, ๒๐๑๓.

[๗] Salgado’s master piece, Taschen.

[๘] Wikipedia

Jerry Uelsmann

26 December 2013

Jerry Uelsmann คือเจ้าพ่อแห่ง photomontage หรือการอัดขยายภาพด้วย negative หลายๆรูป

เจรี่เกิดเมือ ๑๑ มิถุนายน ค.ศ. ๑๙๓๔ ที่เมือง Detriot รัฐ Michigan ประเทศสหรัฐอเมริกา เค้าเรียนวิจิตรศิลป์ที่มหาวิทยาลัย Rochester Institute of Technology และต่อปริญญาโทในสาขาเดิมที่มหาวิทยาลัย Indiana พอเรียนจบ อายุได้ ๒๖ ปีก็ไปเป็นอาจารย์อยู่ที่มหาวิทยาลัย Florida เมือง Gainesville  [1] ตอนอยู่ที่ Indiana เจรี่ได้ทำงานกับ Henry Holmes Smith ซึ่งเป็นหนึ่งในช่างภาพที่ทดลองอะไรแปลกๆมากมาย เช่น การเอาน้ำเชื่อมมาทาบนกระจกเพื่อให้แสงหักเหและเกิดปรากฏการณ์ใหม่ๆ [7] เจรี่เริ่มมีไอเดียใหม่ๆมากมายและเปลี่ยนวิธีการทำงานในห้องมืดจากการใช้เครื่องอัดขยายเครื่องเดียวในห้องมืดเป็นหลายเครื่อง

งานของเจรี่ได้มีแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์ดังๆทั่วโลก เช่น the Metropolitan Museum of Art and the Museum of Modern Art in New York, the Chicago Art Institute, the International Museum of Photography at the George Eastman House, the Victoria and Albert Museum in London, the Bibliotheque National in Paris, the National Museum of American Art in Washington, the Moderna Museet in Stockholm, the National Gallery of Canada, the National Gallery of Australia, the Museum of Fine Arts in Boston, the National Galleries of Scotland, the Center for Creative Photography at theUniversity of Arizona, the Tokyo Metropolitan Museum of Photography, และที่ the National Museum of Modern Art in Kyoto.

ในหนังสือภาพเรื่อง Dances with negatives เท็ด ออแลน เพื่อนของเจรี่และเป็น Curator ในงานแสดงภาพของเจรี่ได้เล่าให้ฟังว่าเขาได้เข้าไปอยู่ในห้องมืดกับเจรี่และได้สัมผัสถึงความพิเศษของเจรี่ที่สามารถผสมผสาน negative จาก ๕๐ ปีที่แล้วกับ negative ที่เพิ่งถ่ายเมื่อสองวันก่อนได้อย่างลงตัว [8]

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

 

ภาพในฝันของ Jerry Uelsmann ในหนังสือ Dances with Negative พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Center of Photographic Art, Aug 2011.

ภาพในฝันของ Jerry Uelsmann ในหนังสือ Dances with Negative พิมพ์โดยสำนักพิมพ์ Center of Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

รูปที่น่าสนใจ

Jerry Uelsmann Journey into Night, 2006 [5]

Jerry Uelsmann
Journey into Night, 2006 [6]

ID number: L80.11.205 Maker: Jerry N. Uelsmann Legal title: untitled Date: 1959 Credit line: On extended loan from the artist Copyright: ©Jerry N. Uelsmann CCP Rights & Reproductions Description: [man with gauge eyes], 1959

ID number: L80.11.205
Maker: Jerry N. Uelsmann
Legal title: untitled
Date: 1959
Credit line: On extended loan from the artist
Copyright: ©Jerry N. Uelsmann CCP Rights & Reproductions
Description: [man with gauge eyes], 1959

 

Jerry Uelsmann Self Portrait at 70 with my Head in the Clouds, 2004 [6]

Jerry Uelsmann
Self Portrait at 70 with my Head in the Clouds, 2004 [6]

Jerry Uelsmann Untitled (Sandcastle), 1990 [6]

Jerry Uelsmann
Untitled (Sandcastle), 1990 [6]

Jerry Uelsmann Untitled (Boat and Waterfall), 1997 [6]

Jerry Uelsmann
Untitled (Boat and Waterfall), 1997 [6]

Bill Suchy ทำหนังสั้นเรื่อง “Visual poetry” เกี่ยวกับงาน photomontage และวิธีคิดและการทำงานของเจรี่ ในเรื่องนี้เจรี่ได้พูดไว้ในตอนหนึ่งว่าการทำ photomontage ในห้องมืดนั้นต้องมีการวางแผนอย่างละเอียดและใช้เวลาเตรียมนานมาก แต่เมื่อเตรียมพร้อมทุกอย่างแล้ว ขั้นตอนการอัดขยายรูปนั้นก็ง่ายดายมาก

เอกสารอ้างอิง

[1] Jerry Uelsmann home page

[2] Center for Creative Photography, University of Arizona

[3] Jerry Uelsmann, Wikipedia

[4] Maker of Photographs: Jerry Uelsmann Interview by Robert Hirsch, Photovision magazine, Feb 2002.

[5] Focusing on a spiritual medium. For artist Jerry Uelsmann, photography opens a window not only into our everyday lives but into the world beyond them. Interview by LENNIE BENNET, Tampa Bay Times. Published February 19, 2006

[6] Catherine Couturier Gallery และ Blog

[7] บทสัมภาษณ์ใน Shutter Bug  โดย Chris Maher and Larry Berman • Posted: Sep 1, 2007

[8] Jerry Uelsmann: Dances with Negatives, Center for Photographic Art, Aug 2011.

Arnold Newman

12 December 2013

Arnold Abner Newman ช่างภาพที่ได้ขนานนามว่าเป็นผู้ริเริ่มการถ่ายภาพแนว  Environmental portraiture และมีคติประจำใจ คือ “Even if the subject is not known, or is already forgotten, the photograph itself must still excite and interest the viewer.”

เกิดเมื่อวันที่ ๓ มีนาคม ค.ศ. ๑๙๑๘ ที่เมือง New York รัฐ New York ประเทศสหรัฐอเมริกา

เกิดเมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ค.ศ. ๒๐๐๖ ที่เมือง New York รัฐ New York ประเทศสหรัฐอเมริกา อายุ ๘๘ ปี

Pablo Picasso, Cannes, 1956 [1]

Arnold Newman “Pablo Picasso”, Cannes, 1956 [1]

Arnold Newman "Ansel Adams, American Photographer", 1975 [1]

Arnold Newman “Ansel Adams, American Photographer”, 1975 [1]

Portrait of German industrialist Alfried Krupp July 6, 1963 in Essen, Germany [1]

Portrait of German industrialist Alfried Krupp July 6, 1963 in Essen, Germany [1]

Cropping

ภาพเต็มจากฟิล์ม 4x5

ภาพเต็มจากฟิล์ม 4×5

Arnold Newman Picasso 1954

Arnold Newman Picasso 1954

ภาพเต็ม

ภาพเต็ม

Igor Stravinsky, Russian Composer, Pianist and Conductor, 1946

Igor Stravinsky, Russian Composer, Pianist and Conductor, 1946

สัมภาษณ์  Newman ในรายการ Visions and Images ปี ๑๙๘๑

References

[1] Photographer’s profile by Anthony Luke